► C/C++ (Arduino)

การเขียนโปรแกรม ไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้วย ภาษา C/C++ (Wiring) ในการเขียนโปรแกรมสำหรับบอร์ด Arduino จะต้องเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาของ Arduino ซึ่งตัวภาษาของ Arduino ก็นำเอาโอเพ่นซอร์ส ชื่อ Wiring ที่เป็น Open Source Programming (ระบบพัฒนาโปรแกรมแบบเปิด) และบอร์ด i/o อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับใช้ในงาน การเรียนรู้เกี่ยวกับ Computer Programming และ ทำโปรเจคอิเล็กทรอนิกส์ต้นแบบ ให้เราใช้ MCU ได้ง่ายขึ้น เช่น High Level และส่วน Low Level มาพัฒนาต่อ

ภาษาของ Arduino แบ่งได้เป็น 2 ส่วนหลักคือโครงสร้างภาษา (Structure) ตัวแปรค่าคงที่และฟังก์ชั่น (Function) ภาษาของ Arduino จะอ้างอิงตามภาษา C/C++ จึงอาจกล่าวได้ว่าการเขียนโปรแกรมสำหรับ Arduino ก็คือการเขียนโปรแกรมภาษา C โดยเรียกใช้ฟังก์ชั่นและไลบรารีที่ทาง Arduino ได้เตรียมไว้ให้แล้ว

การแสดงวัตถุ 3 มิติ ด้วย ESP32

ESP32 เว็บเซิร์ฟเวอร์พร้อม MPU-6050 Accelerometer และ Gyroscope (การแสดงวัตถุ 3 มิติ) ในโครงการนี้ เราจะสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ด้วย ESP32 เพื่อแสดงค่าที่อ่านได้จากมาตรความเร่ง MPU-6050 และเซ็นเซอร์ไจโรสโคป นอกจากนี้ เราจะสร้างการนำเสนอแบบ 3 มิติของการวางแนวเซ็นเซอร์บนเว็บเบราว์เซอร์ การอ่านจะอัปเดตโดยอัตโนมัติโดยใช้เหตุการณ์ที่เซิร์ฟเวอร์ส่ง และการแสดงภาพ 3…

ควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ ด้วย OpenCV Python

ควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ ด้วย OpenCV Python เซอร์โวมอเตอร์ (Servo Motor) เป็นการรวมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC Motor) เข้ากับวงจรควบคุม โดยความแตกต่างที่สำคัญของเซอร์โวมอเตอร์กับมอเตอร์แบบอื่น ๆ คือเซอร์โวมอเตอร์จะรู้ตำแหน่งที่ตัวเองอยู่ และสั่งเปลี่ยนตำแหน่งโดยการเปลี่ยนองศาได้ นิยมใช้งานในเครื่องบินบังคับ เรือบังคับ โดยใช้กำหนดทิศทางของหางเสือเป็นองศา การทํางานเพียงตัว เซอร์โวมอเตอร์…

เขียน Python ควบคุม Arduino ด้วย pySerial

เขียน Python ควบคุม Arduino Python มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ Machine Learning และความสามารถ หลายๆอย่าง เช่น คุณสามารถใช้ควบคุมบอร์ด Arduino. ใช่แน่นอนคุณสามารถใช้ภาษาการเขียนโปรแกรม Python เพื่อสร้างโปรแกรมของคุณเพื่อควบคุม Arduino ได้โดยไม่มีปัญหาและด้วยวิธีง่ายๆ เราจะมาอธิบายวิธีการทำทีละขั้นตอน รายการอุปกรณ์…

Internet of Things แสดงผลอุณหภูมิ DHT11

Internet of Things แสดงผลอุณหภูมิ DHT11 บทความนี้เราจะเรียนรู้วิธีการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นยอดนิยม DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 โดย DHT11 เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น เพื่อวัดอุณหภูมิและความชื้นของบรรยากาศในสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือในพื้นที่ปิดที่ จำกัด และ แสดงผลผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ดูได้ทั่วโลก ที่เว็บไซต์ http://www.iotsiam.net/ ด้วยเทคโนโลยี…

การใช้งานจอ LCD 1602 กับ Arduino Keyestudio PLUS

การใช้งานจอ LCD 1602 กับ Arduino บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ I2C LCD 1602 กับ Arduino Keyestudio PLUS โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD…

เปิดปิดไฟ LED ของ Arduino ด้วยภาษา C#

เปิดปิดไฟ LED ของ Arduino ด้วยภาษา C# ตัวอย่างง่ายๆซึ่งจะใช้ช่องทางติดต่อการสื่อสารผ่านพอร์ทอนุกรม (Series Port) จากคอมพิวเตอร์ไปที่ Arduino UNO R3 เพื่อทำการควบคุมการทำงาน เปิด/ปิด หลอดไฟ LED ที่เชื่อมต่อกับขา 13 ซึ่งมาพร้อมกับบอร์ดอยู่แล้ว…

โปรแกรมแรก ATtiny13 กับ Arduino IDE

โปรแกรมแรก ATtiny13 กับ Arduino IDE การจะทำให้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATtiny13 ใช้งานกับ Arduino IDE ได้นั้น จำเป็นที่จะต้องมี Bootloader ก่อน ซึ่งเจ้า Bootloader นี่มันคือ firmware ที่ทำหน้าที่ช่วยในการ…

การใช้งาน 4-Digit LED Display กับ Arduino Keyestudio PLUS

การใช้งาน 4-Digit LED Display กับ Arduino โมดูลแสดงผลตัวเลข 4 หลัก แบบมีจุดนาฬิกาคั่น หน้าจอ 0.36″ ใช้ไฟ 5 โวลต์ ใช้ IC TM1637 เป็นตัวขับ การเชื่อมต่อแบบอินเตอร์เฟส…

การใช้งาน Arduino UNO R3 รุ่น Keyestudio PLUS

Arduino UNO R3 รุ่น Keyestudio PLUS พร้อมสาย USB cable type-c ความยาว 1 เมตร ซึ่งเข้ากันได้กับสภาพแวดล้อมการพัฒนาด้วย Arduino IDE ประกอบด้วยฟังก์ชั่นทั้งหมดของบอร์ด Arduino UNO R3…

การเรียกใช้เวลามาตรฐาน NTP ด้วย ESP32

การเรียกใช้เวลามาตรฐาน NTP ด้วย ESP32

การเรียกใช้เวลามาตรฐาน NTP ด้วย ESP32 โปรเจคที่ต้องการทำงานอัตโนมัติที่เกี่ยวข้องกับเวลา เช่น เครื่องรดน้ำต้นไม้ เครื่องให้อาหารปลา โปรเจคเหล่านี้จะต้องใช้เวลาเป็นตัวกำหนดการทำงานซึ่งไมโครคอนโทรลเลอร์ทั่ว ๆ ไปสามารถทำได้โดยปกติอยู่แล้ว ซึ่งอาจใช้การเขียนเป็นโปรแกรมนับเวลาหรือจะใช้โมดูลเก็บเวลาจริงที่เรียกว่า RTC เป็นตัวเก็บเวลาแล้วทำการเขียนโปรแกรมดึงเวลาเข้ามาประมวลผล ESP32 เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ตัวหนึ่งที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ ดังนั้นเมื่อเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ก็สามารถที่จะดึงเวลาจากเซิร์ฟเวอร์มาใช้งานได้ ซึ่งจะมีข้อดีกว่าการใช้ RTC อยู่สองสามประการได้แก่ประหยัดเงินซื้อโมดูล…

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save