บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม วิธีการเขียนโค้ด MicroPython สำหรับ STM32 โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128 KB สามารถใช้ความถี่ในการทำงานของซีพียูได้สูงถึง…
บอร์ด STM32 STM32F411CEU6 ผลิตในประเทศจีน โดย WeAct Studio ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128…
บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม โค้ดภาษา C ให้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino Uno (ATmega328P) ด้วย MPLAB-X IDE การเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เช่น Uno / Nano ปรกติก็มี Arduino IDE เป็นซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้งานกัน…
บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานติดตั้ง MPLAB-X IDE และ XC8 Compiler ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์พัฒนางานด้านไมโครคอนโทรลเลอร์ของค่ายไมโครชิพ (Microchip) แต่เนื่องจากว่า บริษัท Atmel ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Microchip ไปแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016 ดังนั้น MPLAB-X IDE จึงเป็นตัวเลือกใหม่สำหรับนักพัฒนา…
บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งาน โมดูล GPS รุ่น GY-NEO6MV2 NEO-6M กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้การสื่อสารกันผ่านพอร์ตอนุกรมแบบ UART และแสดงผล ละติจูด , ลองจิจูด ที่จอ LCD 16×2…
บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2 หมายถึงใน 1 แถว…
STM32F407VET6 STM32 เป็นชิปที่สร้างโดย STMicroelectronics ภายในใช้ CPU ARM 32bit Cortex – M4 ซึ่งออกแบบมาเพื่อไมโครคอนโทรลเลอร์โดยเฉพาะ ความถี่ CPU สูงสุด 168MHz มีรอม 64KB และ SRAM…
ST-Link V2 เป็นอุปกรณ์พิเศษที่พัฒนาโดย ST สำหรับการดีบักและการเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ของชุด STM32 เนื่องจากไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 ถูกสร้างขึ้นบน ARM Cortex ซึ่งมีอินเตอร์เฟสการดีบัก SWD อุปกรณ์ ST-Link ช่วยให้คุณสามารถอัพโหลดโปรแกรมและดีบักไมโครคอนโทรลเลอร์ ARM-Cortex 32 บิตอื่น ๆ…
สถานีตรวจวัดอากาศ ATtiny85 หรือ Weather Station ทำหน้าที่หลัก คือ วัดและตรวจสอบสภาพอากาศ ผ่านเครื่องวัดต่างๆ เช่น เซนเซอร์ DHT22 โมดูลเซนเซอร์วัดความชื้นและอุณหภูมิในตัวเดียว ใช้ไฟเลี้ยง 3 V – 5.5 V แล้วนำมาประมวลผล…
การใช้งาน ATtiny85 ด้วย เครื่องโปรแกรม AVR รุ่น USBasp การใช้งาน ATtiny85 ด้วย เครื่องโปรแกรม AVR รุ่น USBasp AVR เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่นต่อมาที่มีการ พัฒนาต่อมาจาก MCS-51 โดยบริษัท ATMEL อัน…
การติดตั้งบอร์ด STM32 ลงใน Arduino IDE การใช้งาน IDE สำหรับ STM32 และคอมไพล์เลอร์ที่นิยมใช้งานกัน ได้แก่ STM32CubeIDE , AC6 System Workbench for STM32 , ARM…
ไลบรารีกราฟิกสี (Colour Graphics Library) นี่คือไลบรารีกราฟิกสีขนาดเล็กสำหรับจอแสดงผล OLED Colour SPI 96×64 ที่ใช้ ชิปไดรเวอร์ SD1331 ซึ่งช่วยให้คุณสามารถพล็อตจุดเส้นเติมสี่เหลี่ยมและเปิดและข้อความที่มีอักขระขนาดเล็กหรือใหญ่: การใช้งานจอ OLED Display SSD1331 ด้วย ATtiny85 OLED Display…
ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม PLC ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมตามมาตรฐาน IEC 1131-3 กำหนดไว้ 5 ภาษา คือ LD (Ladder diagram), FBD (Function block diagram), IL (Instruction list), ST(Structure…
ATtiny85 PWM หรี่ความสว่างหลอดไฟ LED พื้นฐาน ATtiny85 PWM ATtiny85 ช่วยให้เราสามารถสร้างเอาท์พุทแบบอะนาล็อกโดยใช้ PWM (Pulse Width Modulation) ATtiny85 มีตัวจับเวลา 2 ตัว ที่สามารถใช้เพื่อสร้างสัญญาณ PWM คือ…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ATtiny85 และ การใช้งานขาต่างๆ ในบทความนี้จะกล่าวถึงทุกสิ่งที่เกี่ยวข้องกับ ATtiny85, pinout, คำอธิบายพิน, คุณสมบัติหลัก, บล็อกไดอะแกรมและการนำไปใช้งาน ของโมดูลนี้และสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้ Attiny85 มันเป็นหมวดหมู่ของไมโครคอนโทรลเลอร์ซึ่งเหมือนกับบอร์ด Arduino แต่มีความแตกต่างบางอย่างที่มีจำนวนอินพุตและเอาต์พุต pinout หน่วยความจำขนาดน้อยกว่า โมดูลนี้มีให้ในรูปแบบของไอซี (IC) หรือ…