STM32F103C8T6 Development Board Minimum STM32 บอร์ดพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103C8T6 มีแรม 20KB รอม 64KB รองรับบัส I2C SPI UART และ CAN มี GPIO ทั้งหมด…
1 : ติดตั้งไดร์เวอร์ ST-Link V2 ติดตั้งไดร์เวอร์ ST-Link V2 เพื่ออัพโหลดโปรแกรมและดีบักไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 ตามขั้นตอนลิงค์ด้านล่าง การติดตั้งไดร์เวอร์ ST-Link V2 ระบบปฏิบัติการ Windows 10 2 : เชื่อมต่อสาย…
การใช้งาน STM32CubeIDE กับ STM32F103C8T6 บทความนี้เกี่ยวกับการใช้ STM32CubeIDE เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 ทำไมต้องพัฒนาแอปพลิเคชันโดยใช้ STM32Cube IDE และข้อดีและข้อเสียของการใช้งานคืออะไร? อุปกรณ์ที่ใช้ 1. STM32F103C8T6 Development Board Minimum STM32 2. ST-Link V2…
การติดตั้งโปรแกรม STM32CubeIDE STM32CubeIDE เป็นของบริษัท STMicroelectronics โดยปรับใช้ TrueSTUDIO IDE ของบริษัท Atolic ซอฟต์แวร์นั้นใช้ Eclipse (opensource) สำหรับทำหน้าที่เป็น IDE ร่วมกัน GNU C/C++ for Arm…
STM32 วัดอุณหภูมิ และความชื้น แสดง ออกทางหน้าจอ LCD บทความนี้เราจะเรียนรู้วิธีการเชื่อมต่อเซ็นเซอร์อุณหภูมิและความชื้นยอดนิยม DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 โดย DHT11 เป็นเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น เพื่อวัดอุณหภูมิและความชื้นของบรรยากาศในสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือในพื้นที่ปิดที่ จำกัด เซ็นเซอร์มักใช้ในการตรวจสอบพารามิเตอร์ด้านสิ่งแวดล้อมในหลาย ๆ แอปพลิเคชันเช่นการเกษตรอุตสาหกรรมอาหารโรงพยาบาลรถยนต์สถานีตรวจอากาศเป็นต้น ประโยชน์และการนำโปรเจคไปพัฒนาต่อ เช่น..เครื่องควบคุมอุณหภูมิเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมอุณหภูมิให้ได้ตามค่าอุณหภูมิที่กำหนดไว้…
การใช้งานจอ LCD STM32F103C8T6 บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F103C8T6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2…
การใช้งานบอร์ด STM32 STM32F103C8T6 กับ Arduino IDE บอร์ด STM32 STM32F103C8T6 บอร์ดพัฒนาไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103C8T6 มีแรม 20KB รอม 64KB รองรับบัส I2C SPI UART และ…
บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการทำโปรเจค เปิดปิดไฟด้วยเสียงปรบมือ โดยใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยประโยชน์ของโปรเจคนี้คือ การเปิดปิดไฟแบบไม่สัมผัส เพื่อลดการติดต่อของเชื้อโรค เช่น เชื้อโควิด 19 ผ่านการสัมผัสสวิทซ์จุดเดียวกัน จากผู้ใช้หลายๆคนใช้ร่วมกัน การทำงานเริ่มจากการรับสัญญาณเสียงเช่น เสียงปรบมือ หรือเสียงอื่นๆที่มีความดังใกล้เคียงกัน ผ่านทางเซ็นเซอร์เสียง…
บทความนี้กล่าวถึงขั้นตอนการเขียนโปรแกรม วิธีการเขียนโค้ด MicroPython สำหรับ STM32 โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128 KB สามารถใช้ความถี่ในการทำงานของซีพียูได้สูงถึง…
บอร์ด STM32 STM32F411CEU6 ผลิตในประเทศจีน โดย WeAct Studio ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์รุ่น STM32F411CEU6 ภายในมีตัวประมวลผลหรือซีพียู ARM Cortex-M4F หน่วยความจำ Flash 512 KB และ หน่วยความจำ SRAM 128…
บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งาน โมดูล GPS รุ่น GY-NEO6MV2 NEO-6M กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้การสื่อสารกันผ่านพอร์ตอนุกรมแบบ UART และแสดงผล ละติจูด , ลองจิจูด ที่จอ LCD 16×2…
บทความนี้ กล่าวถึงขั้นตอนการใช้งานจอ LCD 16×2 กับ STM32 รุ่น STM32F407VET6 โดยใช้ Character LCD เป็นจอที่แสดงผลเป็นตัวอักษรตามช่องแบบตายตัว เช่น จอ LCD ขนาด 16×2 หมายถึงใน 1 แถว…
STM32F407VET6 STM32 เป็นชิปที่สร้างโดย STMicroelectronics ภายในใช้ CPU ARM 32bit Cortex – M4 ซึ่งออกแบบมาเพื่อไมโครคอนโทรลเลอร์โดยเฉพาะ ความถี่ CPU สูงสุด 168MHz มีรอม 64KB และ SRAM…
ST-Link V2 เป็นอุปกรณ์พิเศษที่พัฒนาโดย ST สำหรับการดีบักและการเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ของชุด STM32 เนื่องจากไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32 ถูกสร้างขึ้นบน ARM Cortex ซึ่งมีอินเตอร์เฟสการดีบัก SWD อุปกรณ์ ST-Link ช่วยให้คุณสามารถอัพโหลดโปรแกรมและดีบักไมโครคอนโทรลเลอร์ ARM-Cortex 32 บิตอื่น ๆ…
การติดตั้งบอร์ด STM32 ลงใน Arduino IDE การใช้งาน IDE สำหรับ STM32 และคอมไพล์เลอร์ที่นิยมใช้งานกัน ได้แก่ STM32CubeIDE , AC6 System Workbench for STM32 , ARM…